Events Conclusion

Image

SUT Hackathon ครั้งที่ 4 : From Farm to Factory

Mobilisation

07-06-2018 13:00 น. ถึง 10-06-2018 16:30 น.

Innovation Playground F1

จำนวนผู้ลงทะเบียน รวม 99 คน

รายละเอียดหลักสูตร / Description


เพื่อสนับสนุนให้นักศึกษาและผู้ที่มีความสนใจได้นำองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีที่มีไปบูรณาการและประยุกต์ใช้ในการพัฒนาธุรกิจ หรือแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมรอบตัวให้ดีขึ้นได้ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม

กำหนดการ / Agenda


Agenda

Day 1                     7 มิถุนายน 2561
12.00 - 12.30 น.         ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม

12.30 – 13.30 น.        ลงพื้นที่เก็บข้อมูล ณ โรงแป้ง บริษัท ราชสีมา กรีน เอ็นเนอร์ยี จำกัด

(ในเครือโรงงานน้ำตาลมิตรผล) ตำบลห้วยบง อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา

13.30 – 14.30 น.        อบรม Empathize และ Define problem โดย คุณอานนท์ บุณยประเวศ

14.30 – 18.00 น.        idea validation (เดินชมพื้นที่รอบโรงงาน และไร่มันสำปะรัง) โดยทีม Mitrphol ให้คำแนะนำกับนักศึกษา

19.00 – 19.30 น.        เดินทางกลับมหาวิทยาลัย

19.30 – 24.00 น.        ระดมสมองเพื่อคัดกรองไอเดียสู่การพัฒนาชิ้นงาน

*หมายเหตุ  กรณีไม่สะดวกเข้าร่วม วันที่ 7 มิถุนายน 2561 นักศึกษาสามารถเข้าร่วมวันที่ 8 – 10 มิถุนายน 2561 แทน

Day 2                      8 มิถุนายน 2561                       

12.30 - 13.00 น.         ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม

13.00 – 13.30น.         พิธีเปิดกิจกรรม

13.30 – 14.00น.         Pitching Idea เพื่อหาคนเข้าร่วมทีม

14.00 – 20.00น.         ระดมสมองเพื่อคัดกรองไอเดียสู่การพัฒนาชิ้นงาน

20.00 – 24.00น.         ลงมือสร้างชิ้นงาน

Day 3                      9 มิถุนายน 2561

01.00 – 08.30 น.        ลงมือสร้างชิ้นงาน (ต่อ)

08.30 – 09.00 น.        ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม
09.00 - 24.00 น.         ลงมือสร้างชิ้นงาน (ต่อ) และทดลองการใช้งาน

Day 4                      10 มิถุนายน 2561

01.00 – 08.30 น.        ลงมือสร้างชิ้นงาน (ต่อ)

08.30 – 09.00 น.        ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม
09.00 - 11.30 น.         ลงมือสร้างชิ้นงาน (ต่อ) และทดลองการใช้งาน

11.30 – 12.00 น.        ส่งไฟล์นำเสนอ (กรณีเป็นชิ้นงานไม่มีไฟล์นำเสนอให้มาแจ้งเจ้าหน้าที่)

13.00 – 17.00 น.        นำเสนอ และสรุปกิจกรรมพร้อมมอบรางวัล

 

*รับประทานอาหารว่างครั้งละ 15 นาที เวลา 10.30 น., 14.30 น. (ทุกวัน) และ 21.00 น. (เฉพาะวันที่ 2-3)

**รับประทานอาหารครั้งละ 1 ชม. เวลา 12.00 น. (ทุกวัน) และ 18.00 น. (เฉพาะวันที่ 1-3)

***หมายเหตุ : กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

Agenda

7 June(optional)

12.00 -12.30 registration

12.30 – 18.00 Visit Mitrphol's flour factory

8 June

12.30 -13.00 registration

13.00-13.30 opening ceremony

13.30-14.00 idea pitching to form teams

14.00-20.00 brainstorming

20.00-24.00 develop team project

 9 June

1.00-8.00 develop team project

08.30-9.00 registration

09.00-24.00 develop team project

10 June

01.00-8.00am develop team project

08.30-09.00 registration

09.0p-11.30 develop team project and test it

11.30-12.00 submit powerpoint presentation and product/project

13.00-17.00 team presentations and award ceremony

Note:

Snacks served at 10.30, 14.30 and 21.00 for 15 mins on day 2  and day 3.

Lunch provided at 12.00 every day.

Dinner provided at 18.00 on Day 1,2 and 3.

 

Schedule may be subject to some changes.

 

Venue: Innovation Playground, SEDA, F1.

Date: 7-10 June, 2018.

สรุปผลการจัดกิจกรรม


กิจกรรม SUT Hackathon #4 รอบนี้มีทีมเข้าแข่งขันถึง 14 ทีม จาก 20 สาขาวิชา และต่างมหาวิทยาลัย รวมทีมกันมา สร้างนวัตกรรม จากโจทย์ From Farm to Factory งัดวิทยายุทธออกมาแข่งกันอย่างเต็มที่ 48 ชม.หลายทีมแทบไม่ได้นอน บางทีมทำการทดลองในแลปเพื่อให้แน่ใจว่าสิ่งที่คิดมีโอกาสเป็นไปได้จริง ไม่หลับไม่นอนกันเลยทีเดียว... รอบนี้ ได้การสนับสนุนเงินรางวัลจาก กลุ่มมิตรผล และทางกลุ่มมิตรผลแจ้งความจำนงเอาแนวคิดไปใช้ประโยชน์ ซึ่งจะติดต่อนักศึกษาร่วมดำเนินการต่ออีกหลายทีม

วิทยากร / Instructor


Wiwat Nuansing, Ph.D.

Head of SEDA
View Profile

Korsak Towantakavanit, Ph.D.

New Investment Strategy Manager Bio based Products Business Unit
View Profile

Katharpisit Khuphetcharat

MD at Chok intertech (Technology and Smart Farm)
View Profile

Apisara Wichean

CEO & Co-Founder Farmz Master
View Profile

Wipawee Usaha Hattagam, Ph.D.

Assistant Professor in Telecommunication Engineering
View Profile

Chokchai Wanapu, Ph.D.

Associate Professor in Biotechnology
View Profile

Pachok Pimlakar

MD at Chok intertech
View Profile

ผลการจัดกิจกรรม


จำนวนแนวคิดเชิงธุรกิจที่เกิดขึ้น 15 แนวคิด

ชื่อกลุ่ม แนวคิดโดยสังเขป
BAN STOPautomation มาควบคุมระบบการผันนน้ำเข้าพื้นที่ที่ทำการเกษตรของเกษตรกร โดยใช้ sensor ในการตรวจจับความชื้นของหน้าดิน เมื่อมีความชื้นถึงจุดที่พืชต้องการระบบก็จะทำการผันน้ำ และเมื่อถึงจุดสูงสุดระบบก็จะทำการปิด วิธีนี้จะช่วยทำให้ประหยัดน้ำได้มากขึ้น
HACK KAKรถที่ฉีดปุ๋ยและยาฆ่าหญ้า ผ่านระบบแอพพลิเคชั่น
Omegaเครื่องจะตัดแง่งมันสำปะหลังที่อยู่รอบๆตอมันสำปะหลังโดยใช้ใบมีกลักษณะสามเหลี่ยมบีบเข้าหากันในแนวเฉียงตามรัศมีวงกลม เพื่อที่จะให้ใบมีดสามารถตัดแง่งมันที่อยู่ด้านล่างได้
คิดตื้น..ตื้นระบบความปลอดภัย ของการชั่งน้ำหนักของพืชผล
I9 ( I-Nine)แอพพลิเคชั่นที่ช่วยเกษตรกรยุคใหม่ในการจัดการระบบการเพาะปลูกของตนเอง ซึ่งเกษตรกรบางรายอาจะมีพื้นที่ในการเพาะปลูกมากกว่า1แห่ง ในแอพพลิเคชั่นนี้จะมีฟังก์ชันที่ช่วยในการอำนวยความสะดวกให้เกษตรกร จัดเก็บข้อมูลต่างๆในการปลูกมันสำปะหลังแต่ละไร่ของตนเอง และสามารถคำนวณรายได้และรายได้สุทธิ(แบบง่าย)ด้วยฟังก์ชั่นที่ได้ทำการพยากรณ์จากสถิติและแนวโน้มของราคา เพื่อประกอบการตัดสินใจให้กับเกษตรกรในการปลูกและเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง
Smart Genระบบอัจฉริยะสำหรับเกษตกรผู้เลี้ยงไก่
Future บอดโรงอบแห้งใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อระเหยน้ำที่อยู่ในหัวมันสำปะหลังดิบ ทำให้แห้งและสามารถเก็บได้ในระยะเวลาที่นานขึ้น
FerTechวัสดุหุ้มกิ่งพันธุ์ผสมธาตุอาหารพร้อมปลูกแบบย่อยสลายได้
fernandfriendsตรวจสอบปริมาณแป้งของหัวมันสำปะหลังในเบื้องต้นว่ามีปริมาณแป้งเท่าไหร่ โดยเครื่องนี้จะอาศัยหลักการของความหนืดของสาร โดยควบคุมปริมาณน้ำ และน้ำหนักของมันสำปะหลังที่ผสม
PaperPestPaperPest: Paper based pesticide indicator เป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการตรวจวัดสารกำจัดศัตรูพืชประเภทพาราควอท
Manioc QPlatform สำหรับช่วยเหลือเกษตรกรและหน่วยส่งเสริมเกษตรกร โดยใช้เทคโนโลยี chatbot ,machine learning,AI
Think shallowระบบที่แก้ไขเกี่ยวกับคิวของรถที่ขนผลผลิตทางการเกษตร ป้องกันการทุจริตในการชั่งน้ำหนัก และง่ายต่อการเช็ค หรือรายงาน ยอดในแต่ละวัน
สวยพี่สวยตัวช่วยสุ่มจับมันสำปะหลังเเทนคน หน้าโรงงาน
CAScloudแอพพลิเคชั่นสำหรับให้คำปรึกษาเกษตรกร และช่วยวางแผนการทำเกษตร บันทึกรายรับรายจ่าย เพื่อให้หน่วยส่งเสริมของโรงงานเข้าถึงเกษตรกรทั้งลูกไร่และคนที่ไม่ใช่ลูกไร่
พัฒนาเพื่อการเกษตรเครื่องMBC เครื่องมือที่ช่วยแก้ปัญหาลดมลพิษ เป็นเครื่องหมักปุ๋ยที่ช่วยให้เกษตกรนำซากพืชเช่น ฟางข้าวและใบอ้อยนำมาต่อยอดให้เกิดประโยชน์และรายได้

บรรยากาศการจัดกิจกรรม



ผู้ดูแลกิจกรรม / Organizer


KRITTAPHAT TRIWATCHARANON

Community And Activities Curators
krittaphat@g.sut.ac.th
0959196645

Student Entrepreneurship Development Academy